ในวันพุธที่10มีนาคม2564 ในสายชั้นมธยมศึกษาปีที่1ได้มีกิจกรรมDay camp สำหรับลูกเสือเนรตนารีได้ให้ลูกเสือเนรตนารีได้เข้าฐานการฝึกต่างๆเพื่อฝึกความอดทน ความพยายาม อีกทั้งเป็นการเพิ่มทักษะการเอาตัวรอด
วันพฤหัสบดีที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2564
วันพุธที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564
ครอบครัว
ครอบครัว หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ร่วมกัน ภายในบ้านเดียวกัน อาจมีสายเลือดเดียวกัน หรือไม่ก็ได้
ครอบแบ่งเป็น 2 ประเภท
1.ครอบครัวที่เกี่ยวข้องทางสายเลือดเช่น บิดา มารดา บุตร
2.ครอบครัวที่เกี่ยวข้องทางสังคมเช่น นายจ้างกับลูกจ้าง เพื่อนกับเพื่อน
บายศรี
บายศรี เป็นการใช้ภูมิปัญญาไทย ในการสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ ผู้ได้รับการทำพิธี บายศรีจึงเป็นของสูง สิ่งมีค่าของไทยมาแต่โบราณ ในงานมงคลทุกงานจะมีพิธีที่มีบายศรีเป็นส่วนสำคัญ เป็นศาสนพิธีของศาสนาพราหมณ์ คำว่าบาย เป็นภาษาเขมร หมายถึง ข้าวสุก ศรี เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง มิ่งขวัญ บายศรี จึงหมายถึง ขวัญข้าว หรือภาชนะใส่เครื่องสังเวย
ก่อนทำพิธีสู่ขวัญ ต้องมีการจัดทำพาขวัญหรือขันบายศรี หมายถึง ภาชนะใส่เครื่องสังเวยบูชาก่อนการเรียกขวัญ ตกแต่งอย่างสวยงามด้วยใบไม้ เช่น ใบตองกล้วย นำมาพับ เป็นมุมแหลมและเย็บซ้อนอย่างสวยงาม อาจทำเป็น 3 ชั้น 5 ชั้น หรือ 7 ชั้น แล้วแต่ความเหมาะสมของผู้จัดพิธี บายศรีจึงเป็นความเชื่อของคนทุกภาคในประเทศไทย การทำพิธีโดยใช้บายศรี ก่อให้เกิดขวัญกำลังใจ ช่วยให้มีจิตใจที่เข้มแข็ง สามารถเผชิญภยันตรายได้อย่างดี ทำให้เกิดโชคลาภและสิริมงคลแก่ผู้กระทำ การใช้บายศรี มีทั้งเหตุการณ์ดีและเหตุการณ์ไม่ดี
การสู่ขวัญโดยใช้บายศรีในเหตุการณ์ดี เช่น การเกิด บวช แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ ฉลองตำแหน่ง ผูกเสี่ยว การกลับมาบ้าน เพื่อให้เกิดสิริมงคลยิ่ง ๆ ขึ้นไป
การสู่ขวัญโดยใช้บายศรีในเหตุการณ์ที่ไม่ดี เช่น การเจ็บป่วย การเกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุการณ์ร้ายต่าง ๆ ที่ทำให้เสียขวัญ เพื่อสะเดาะเคราะห์ ให้หายจากเหตุการณ์ร้าย
หมอขวัญ จะเป็นผู้ประกอบพิธี โดยเชิญเทวดาอารักษ์มาเป็นสักขีพยาน และบันดาลให้เจ้าของขวัญประสบความสำเร็จ ความสุขและความเจริญ
ก่อนทำพิธีสู่ขวัญ ต้องมีการจัดทำพาขวัญหรือขันบายศรี หมายถึง ภาชนะใส่เครื่องสังเวยบูชาก่อนการเรียกขวัญ ตกแต่งอย่างสวยงามด้วยใบไม้ เช่น ใบตองกล้วย นำมาพับ เป็นมุมแหลมและเย็บซ้อนอย่างสวยงาม อาจทำเป็น 3 ชั้น 5 ชั้น หรือ 7 ชั้น แล้วแต่ความเหมาะสมของผู้จัดพิธี บายศรีจึงเป็นความเชื่อของคนทุกภาคในประเทศไทย การทำพิธีโดยใช้บายศรี ก่อให้เกิดขวัญกำลังใจ ช่วยให้มีจิตใจที่เข้มแข็ง สามารถเผชิญภยันตรายได้อย่างดี ทำให้เกิดโชคลาภและสิริมงคลแก่ผู้กระทำ การใช้บายศรี มีทั้งเหตุการณ์ดีและเหตุการณ์ไม่ดี
การสู่ขวัญโดยใช้บายศรีในเหตุการณ์ดี เช่น การเกิด บวช แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ ฉลองตำแหน่ง ผูกเสี่ยว การกลับมาบ้าน เพื่อให้เกิดสิริมงคลยิ่ง ๆ ขึ้นไป
การสู่ขวัญโดยใช้บายศรีในเหตุการณ์ที่ไม่ดี เช่น การเจ็บป่วย การเกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุการณ์ร้ายต่าง ๆ ที่ทำให้เสียขวัญ เพื่อสะเดาะเคราะห์ ให้หายจากเหตุการณ์ร้าย
หมอขวัญ จะเป็นผู้ประกอบพิธี โดยเชิญเทวดาอารักษ์มาเป็นสักขีพยาน และบันดาลให้เจ้าของขวัญประสบความสำเร็จ ความสุขและความเจริญ
ตะโก้เผือก
ส่วนผสม
- #ตัวตะโก้#
- แป้งข้าวเจ้า 1 ถ้วย
- แป้งมัน 1/4 ถ้วย
- เผือกหั่นเต๋าเล็กๆ 1 ถ้วย
- น้ำเปล่า 4 ถ้วย
- น้ำตาลทราย 150 กรัม
- เกลือป่นนิดหน่อย
- #หน้าตะโก้#
- หัวกะทิ 1 ถ้วย
- หางกะทิหรือน้ำเปล่า 1 ถ้วย
- เกลือป่น 1 ช.ช.
- น้ำตาลทราย 1 ช.ช.
- แป้งข้าวเจ้า 1/2 ถ้วย
- แป้งมัน 1 ช.ต
แต่งหน้าด้วยเผือกชิ้นเล็กๆสักหน่อย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ในวันพุธที่10มีนาคม2564 ในสายชั้นมธยมศึกษาปีที่1ได้มีกิจกรรมDay camp สำหรับลูกเสือเนรตนารีได้ให้ลูกเสือเนรตนารีได้เข้าฐานการฝึกต่างๆเพื่อฝ...
-
ผลงานที่ 1 เรื่อง รหัสมอส ค้นหา ด้วยGOOGLE ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ข้อมูล ข้อมูล คือ ค่า ของ ตัวแปร ใน เชิงคุณภาพ หรือ เชิงปริมาณ ที่อยู่ในคว...
-
กิจกรรมการเข้าค่าย STEAM ปีการศึกษา 2564 ทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดโดยบูรณาการในหลายสาขาวิชา STEAM คือ Science Teac...
-
ในวันพุธที่10มีนาคม2564 ในสายชั้นมธยมศึกษาปีที่1ได้มีกิจกรรมDay camp สำหรับลูกเสือเนรตนารีได้ให้ลูกเสือเนรตนารีได้เข้าฐานการฝึกต่างๆเพื่อฝ...