วันพุธที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564


 ครอบครัว
     ครอบครัว หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ร่วมกัน ภายในบ้านเดียวกัน อาจมีสายเลือดเดียวกัน หรือไม่ก็ได้
ครอบแบ่งเป็น 2 ประเภท
1.ครอบครัวที่เกี่ยวข้องทางสายเลือดเช่น บิดา มารดา บุตร
2.ครอบครัวที่เกี่ยวข้องทางสังคมเช่น นายจ้างกับลูกจ้าง เพื่อนกับเพื่อน
บายศรี
บายศรี เป็นการใช้ภูมิปัญญาไทย ในการสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ ผู้ได้รับการทำพิธี บายศรีจึงเป็นของสูง สิ่งมีค่าของไทยมาแต่โบราณ ในงานมงคลทุกงานจะมีพิธีที่มีบายศรีเป็นส่วนสำคัญ เป็นศาสนพิธีของศาสนาพราหมณ์ คำว่าบาย เป็นภาษาเขมร หมายถึง ข้าวสุก ศรี เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึง มิ่งขวัญ บายศรี จึงหมายถึง ขวัญข้าว หรือภาชนะใส่เครื่องสังเวย
          ก่อนทำพิธีสู่ขวัญ ต้องมีการจัดทำพาขวัญหรือขันบายศรี หมายถึง ภาชนะใส่เครื่องสังเวยบูชาก่อนการเรียกขวัญ ตกแต่งอย่างสวยงามด้วยใบไม้ เช่น ใบตองกล้วย นำมาพับ เป็นมุมแหลมและเย็บซ้อนอย่างสวยงาม อาจทำเป็น 3 ชั้น 5 ชั้น หรือ 7 ชั้น แล้วแต่ความเหมาะสมของผู้จัดพิธี บายศรีจึงเป็นความเชื่อของคนทุกภาคในประเทศไทย การทำพิธีโดยใช้บายศรี ก่อให้เกิดขวัญกำลังใจ ช่วยให้มีจิตใจที่เข้มแข็ง สามารถเผชิญภยันตรายได้อย่างดี ทำให้เกิดโชคลาภและสิริมงคลแก่ผู้กระทำ การใช้บายศรี มีทั้งเหตุการณ์ดีและเหตุการณ์ไม่ดี
          การสู่ขวัญโดยใช้บายศรีในเหตุการณ์ดี เช่น การเกิด บวช แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ ฉลองตำแหน่ง ผูกเสี่ยว การกลับมาบ้าน เพื่อให้เกิดสิริมงคลยิ่ง ๆ ขึ้นไป
          การสู่ขวัญโดยใช้บายศรีในเหตุการณ์ที่ไม่ดี เช่น การเจ็บป่วย การเกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุการณ์ร้ายต่าง ๆ ที่ทำให้เสียขวัญ เพื่อสะเดาะเคราะห์ ให้หายจากเหตุการณ์ร้าย
          หมอขวัญ จะเป็นผู้ประกอบพิธี โดยเชิญเทวดาอารักษ์มาเป็นสักขีพยาน และบันดาลให้เจ้าของขวัญประสบความสำเร็จ ความสุขและความเจริญ

ตะโก้เผือก



ส่วนผสม

  1. #ตัวตะโก้#
  2. แป้งข้าวเจ้า 1 ถ้วย
  3. แป้งมัน 1/4 ถ้วย
  4. เผือกหั่นเต๋าเล็กๆ 1 ถ้วย
  5. น้ำเปล่า 4 ถ้วย
  6. น้ำตาลทราย 150 กรัม
  7. เกลือป่นนิดหน่อย
  8. #หน้าตะโก้#
  9. หัวกะทิ 1 ถ้วย
  10. หางกะทิหรือน้ำเปล่า 1 ถ้วย
  11. เกลือป่น 1 ช.ช.
  12. น้ำตาลทราย 1 ช.ช.
  13. แป้งข้าวเจ้า 1/2 ถ้วย
  14. แป้งมัน 1 ช.ต
  1. เผือกหั่นเต๋านำไปนึ่งให้สุก หรือจะต้มโดยใช้น้ำน้อยๆก็ได้ ในภาพใช้ต้มค่ะ

    ตะโก้เผือก วิธีทำสูตร 1 รูป
  2. ผสมส่วนของตัวตะโก้ให้เข้ากัน แล้วใส่เผือกลงไป

    ตะโก้เผือก วิธีทำสูตร 2 รูป
  3. นำไปกวนไฟอ่อนถึงปานกลาง

    ตะโก้เผือก วิธีทำสูตร 3 รูป
  4. สุกแล้วหน้าตาจะประมาณนี้

    ตะโก้เผือก วิธีทำสูตร 4 รูป
  5. ตักหยอดใส่ภาชนะที่้ตรียมไว้

    ตะโก้เผือก วิธีทำสูตร 5 รูป
  6. หรือจะใส่กระทงใบเตยก็หอมดีจ้า

    ตะโก้เผือก วิธีทำสูตร 6 รูป
  7. ทำหน้าตะโก้ด้วยการผสมส่วนของหน้ากะทิให้เข้ากันแล้วตั้งไฟอ่อน กวนไปทางเดียวกันจนข้นสุกแล้วตักราดลงบนตัวตะโก้ได้เลย

    ตะโก้เผือก วิธีทำสูตร 7 รูป
  8. แต่งหน้าด้วยเผือกชิ้นเล็กๆสักหน่อย

วันอังคารที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2564

ภาคเรียนที่1

หน่วยที่ 1 เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร

หน่วยที่ 2 สารบริสุทธิ์

หน่วยที่ 3 หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต


ส่วนประกอบเซลล์สัตย์

หน่วยที่ 4 การดำรงชีวิตของพืช

รูปการสังเคราะห์ด้วยแสง

หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

หน่วยที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ

 
ชั้นบรรยากาศโลก



ภาคเรียนที่1


บทที่ 1 จำนวนวเต็ม

บทที่ 2 การสร้างทางเรขาคณิต


บทที่ 3 เลขยกำลัง


บทที่ 4 ทศนิยมและเศษส่วน


บทที่ 5 รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ


เรียนรู้คลิก

ภาคเรียนที่ 2

บทที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 


บทที่ 2 อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ

เรียนรู้คลิก




  

วันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2564

 ผลงานที่ 1 เรื่อง รหัสมอส

ค้นหาด้วยGOOGLE

ภาษาอังกฤษ


ภาษาไทย
ข้อมูล
ข้อมูล คือค่าของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่อยู่ในความควบคุมของกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นโครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างต้นไม้ (กลุ่มของจุดต่อที่มีความสัมพันธ์แบบพ่อลูก) หรือโครงสร้างกราฟ (กลุ่มของจุดต่อที่เชื่อมระหว่างกัน) ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจากการวัดและสามารถทำให้เห็นได้โดยใช้กราฟหรือรูปภาพ ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหนึ่ง อาจมองได้ว่าเป็นระดับต่ำที่สุดของภาวะนามธรรมที่สืบทอดเป็นสารสนเทศและความรู้ ข้อมูลดิบ หรือ ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล เป็นศัพท์อีกคำหนึ่งที่เกี่ยวข้อง หมายถึงการรวบรวมจำนวนและอักขระต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว จากระยะหนึ่งอาจถือว่าเป็น ข้อมูลดิบ ของระยะถัดไปก็ได้ ข้อมูลสนามหมายถึงข้อมูลดิบที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหล่งกำเนิด ที่ไม่อยู่ในการควบคุม ข้อมูลเชิงทดลองหมายถึงข้อมูลที่สร้างขึ้นภายในสภาพแวดล้อมของการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตและการบันทึก
ข้อมูลสารสนเทศ

พท์คำว่าข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ บ่อยครั้งถูกใช้แทนมโนทัศน์ที่ทับซ้อนกัน ระดับของภาวะนามธรรมคือความแตกต่างหลักที่จะนำมาพิจารณา ข้อมูลคือระดับของภาวะนามธรรมต่ำที่สุด สารสนเทศอยู่ในระดับถัดไป และสุดท้ายความรู้คือระดับสูงที่สุดในสามสิ่งนี้ [1] ข้อมูลโดยตัวมันเองนั้นไม่มีความหมายอะไร เมื่อข้อมูลกลายเป็นสารสนเทศ มันจะต้องถูกตีความและมีความหมายเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ความสูงของยอดเขาเอเวอเรสต์โดยทั่วไปถือว่าเป็นข้อมูล หนังสือเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศของยอดเขาเอเวอเรสต์ก็อาจถือว่าเป็นสารสนเทศ และรายงานเกี่ยวกับสารสนเทศเชิงปฏิบัติ เรื่องเส้นทางที่ดีที่สุดในการปีนยอดเขาเอเวอเรสต์ก็เรียกได้ว่าเป็นความรู้

เบย์นอน-เดวีส์ใช้มโนทัศน์ของป้ายเพื่อแยกแยะระหว่างข้อมูลกับสารสนเทศ กล่าวคือ ข้อมูลคือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในขณะที่สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อสัญลักษณ์เหล่านั้นใช้อ้างถึงบางสิ่งบางอย่าง

การเรียนรู้mindcraft code




เรียนรู้flowchart
Flowchartการต้มมาม่า







  ในวันพุธที่10มีนาคม2564 ในสายชั้นมธยมศึกษาปีที่1ได้มีกิจกรรมDay camp สำหรับลูกเสือเนรตนารีได้ให้ลูกเสือเนรตนารีได้เข้าฐานการฝึกต่างๆเพื่อฝ...